สองพระมหากษัตริย์....ร่มฉัตรปกแผ่นดิน
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร์รัชกาลที่ ๘ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติในระบอบประชาธิปไตย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
บุญบาปที่ปลายนิ้ว
ผลกระทบจากการกด like กด share ที่มีเนื้อหาไม่ดี บาปหรือไม้? ควรปฏิบัติตัวอย่างไร? และมาเรียนรู้ พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550
อานิสงส์การบูชาเจดีย์ด้วยดอกผักตบ
ในสมัยพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์อื่น ๆ ก็มีการสร้างพระเจดีย์เหมือนกันพระเจดีย์ล้วนทำมาจากสิ่งที่มีค่าที่สุดเท่าที่จะหาได้ในยุคสมัยนั้น เช่น ...
อานิสงส์บูชาพระเจดีย์ทุกวัน
การบูชามี ๒ อย่าง ได้แก่ อามิสบูชาและปฏิบัติบูชา อามิสบูชา คือ การบูชาด้วยวัตถุสิ่งของ มีดอกไม้ ธูปเทียน เครื่องหอมอาหารหวานคาว และน้ำ เป็นต้น
อานิสงส์การบูชาด้วยดอกบัว
ท่านสาธุชนยอดนักสร้างบารมีผู้มีบุญทั้งหลาย เราเกิดมาภพชาติหนึ่งได้มาทำความดีในมนุษยโลก มาพบพระพุทธศาสนา และตัวเราก็เป็นสัมมาทิฐิบุคคล นับว่าเป็นสิ่งที่ได้มายากแสนยาก เพราะนี่คือคุณสมบัติของผู้มีบุญที่จะใช้โอกาสที่ดีเช่นนี้สร้างบารมีตักตวงบุญกุศลได้เต็มที่
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป (ข้อ ๓-๘)
ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ในยุคเศรษฐกิจแบบนี้
ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ ในเมื่อเศรษฐกิจไม่ดี? การหล่อพระด้วย “ทองคำ” เป็นเรื่องปกติหรือไม่? ทำไมนิยมนำทองคำหรือรัตนชาติแพง ๆ มาสร้างพระหรือเจดีย์ ถือเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้วหรือ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่องค์ที่ ๘ ในเมื่อหล่อมาตั้ง ๗ องค์แล้ว?
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๗)
เดือนตุลาคมที่ผ่านมานี้ ผู้เขียนได้รับเชิญจากเจ้าภาพ คือ ประธานพุทธสมาคมจีนให้เข้าร่วมประชุม World Buddhist Forum ครั้งที่ ๔ ที่เมือง Wu Xi ซึ่งมีผู้แทนองค์กรชาวพุทธถึง ๕๒ ประเทศเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้นับว่าเป็นนิมิตหมายที่ดีที่พุทธบริษัทจะมารวมเป็นหนึ่งเดียว ในช่วงนี้จึงเป็นโอกาสดีที่ผู้เขียนจะเดินทางไปเมืองซีอานอีกครั้งหนึ่ง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก